สัญญาณเตือนของการแพ้กลูเตน (Signs of Gluten’s intolerance)

การแพ้กลูเตนหรือภาวะปฏิกิริยาไวต่อกลูเตน มีอาการเหมือนกับโรคเซลิอิกแต่อาการรุนแรงน้อยกว่า การแพ้กลูเตนยังสามารถทำให้เกิดความรู้สึกไม่สบายได้มาก และบางครั้งผู้คนก็ใช้การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตเพื่อพยายามจัดการกับอาการ การแพ้กลูเตน มักถูกเข้าใจผิดกับโรคเซลิอิก แต่มีอาการที่แตกต่างกัน โรคเซเลอิกเป็ฯโรคเกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกัน และสามารถทำลายระบบย่ยอาหารของผู้คนได้ แต่แตกต่างจากโรคเซลิอิก อย่างไรก็ตาม ยังไม่มีความชัดเจนว่าทำไมอาการของการแพ้กลูเตนจึงเกิดขึ้น แต่ดูเหมือนว่าจะไม่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกันหรือทำลายระบบทางเดินอาหาร บางครั้งผู้คนก็เข้าใจผิดว่าการแพ้กลูเตนเป็ฯโรคภูมิแพ้ข้าวสาลี การแพ้ข้าวสาลีอาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ เนื่องจากอาการบางอย่างอาจทำให้การหายใจแย่ลงหรือทำให้หมดสติ ซึ่งไม่ใช่การแพ้กลูเตนหรืออาการโรคเซลิอิก การแแพ้กลูเตนนั้นอาการรุนแรงน้อยกว่าโรคเซลิอิกและภูมิแพ้ข้าวสาลี และผู้คนรู้เรื่องนี้น้อย 

อาการการแพ้กลูเตน 

หลายอาการเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วหลังจากการบริโภคกลูเตน อย่างไรก็ตาม อาการ่วมที่แน่นอนอาจแตกต่างกันออกไป ผู้ที่มีอาการแพ้กลูเตนจะมีอาการหนึ่งอาการใดต่อไปนี้ เมื่อทานอาหารที่มีกลูเตน ในอาหารที่ทานปกคิ

1. ท้องร่วงและท้องผูก 

อาการของแพ้กลูเตนอาจจะรวมถึงท้องผูก เหนื่อยง่าย ปวดหัว และคลื่นไส้ อาการทั่วไปของผู้ที่มีการแพ้กลูเตนคือท้องเสียและท้องผูก  การมีปัญหาทางเดินอาหารบางครั้งเป็นเรื่องปกติ แต่การประสบปัญหาดังกล่าวในแทบทุกวันอาจบ่งบอกถึงภาวะที่แฝงอยู่ ผู้ที่เป็นโรคเซลิอิกอาจจะประสบกับอาการท้องผูก กลิ่นของอุจจาระของพวกเขาอาจจะไม่ดีรัก อาจจะเกิดจากสาเหตุของการดูดซึมสารอาหารที่ไม่ดี  ไฟเบอร์ที่ได้จากกระเจี๊ยบเขียวมีประโยชน์อย่างไร

2. ท้องอืด 

อีกหนึ่งอาการของผู้ที่มีอาการแพ้กลูเตนคือ อาการท้องอืด บ่งบอกถึงอาการที่รู้สึกว่าอิ่มท้องที่อึดอัดและยาวนาน และรู้สึกว่ามีแก๊ส การทานมากเกินไปทำให้เกิดอาการท้องอืด แต่มันอาจจะเกิดได้จากหลาย ๆ สาเหตุที่แตกต่างหัน ในผู้ที่การแพ้กลูเตน การที่รู้สึกอืดท้องจะรู้สึกท้องอืดเป็นปกติ ซึ่งจะไม่เกี่ยวกับปริมาณอาหารที่ทาน

3. อาการปวดท้อง 

มีหลายสาเหตุที่ทำให้เกิดอาการปวดท้อง แต่สำหรับผู้ที่แพ้กลูเตนจะประสบกับอาการปลูกท้องบ่อยและปวดท้องแบบไม่มีสาเหตุ

4. เหนื่อยง่าย 

อาการเหนื่อยง่าย เป็ฯอีกหนึ่งอาการที่ยากที่จะพบ เพราะอาจจะเกิดได้จากหลาย ๆ สาเหตุ และอาจจะไม่เกี่ยวข้องกับการแพทย์  ผู้ที่มีอาการแพ้กลูเตน อาจจะรู้สึกเหนื่อยที่ส่งผลต่อการทำงานประจำวัน 

5. อาการคลื่นไส้ 

ผู้ที่มีอาการแพ้กลูเตน อาจจะมีอาการคลื่นไส้ หลังจากที่ทานอาหารที่มีกลูเตน อาการคลื่นไส้เกิดขึ้นได้หลายสาเหตุ แต่มักจะเกิดขึ้นหลังจากทานอาหารที่มีกลูเตน มันสัญญาณที่บ่งบอกว่ามีอาการแพ้กลูเตน

6. ปวดหัว 

อาการปวดหัวเป็นอีกอาการหนึ่งที่เกิดกับผู้ที่มีอาการแพ้กลูเตน Signs of Gluten's intolerance

7. อาการอื่น ๆ 

ผู้ที่อาการแพ้กลูเตนอาจจะมีอาการเหล่านี้ เป็นประจำ นอกจากนี้ยังเป็นไปได้ที่อาการอื่นๆ จะเกิดขึ้นกับการแพ้กลูเตน แม้ว่าจะพบได้น้อยกว่าก็ตาม รวมไปถึง:

อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง 

อาหารที่มีกลูเตนเช่น ข้าวสาลี ข้าวไรย์และพาสต้า เป็นต้น ผู้ที่แพ้กลูเตนพยายามหลีกเลี่ยงอาหารที่มีกลูเตน ซึ่งรวมถึงอาหารที่มี:
  • ข้าวสาลีและสิ่งที่ทำมาจากข้าวสาลี เช่น แป้งสเปลท์
  • ข้าวบาร์เล่ รวมถึง มอลต์
  • ข้าวไรย์
  • ยีสต์ที่มาจากเบียร์
นโยบายการกำจัดนี้ห้ามอาหารและเครื่องดื่มหลายประเภท อาหารและเครื่องดื่มที่มีกลูเตนที่พบบ่อย ได้แก่:
  • พาสต้า
  • ขนมปังและขนมอบ
  • ขนมอบต่าง ๆ 
  • ซีเรียล
  • แครกเกอร์
  • แพนเค้ก เวเฟอร์ และเครป
  • คุกกี้
  • ซอสและน้ำเกรวี่
  • เบียร์
  • เครื่องดื่มมอลต์
หลายคนถามถึงประโยชน์ของควินัว อ่านได้เลยที่นี่

เราควรลดหรืองดกลูเตนหรือไม่ 

เป็นเรื่องสำคัญที่ผู้คนจะต้องตระหนักว่าโรคเซลิอิก มีผลเพียงประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์ของประชากรทั้งหมด ในทำนองเดียวกัน การประมาณการบางอย่างทำให้ความชุกของการแพ้กลูเตนอยู่ระหว่าง 0.5 ถึง 13 เปอร์เซ็นต์ของประชากร เงื่อนไขเหล่านี้ไม่ใช่เรื่องปกติ แต่อาการที่เกี่ยวข้องกับอาการเหล่านี้แพร่หลายและมีสาเหตุหลายประการ ซึ่งหมายความว่าสามารถระบุการแพ้กลูเตนได้ง่าย ปัญหาแย่ลงจากแนวโน้มการอดอาหารที่แนะนำว่าการบริโภคกลูเตนมีผลกระทบต่อสุขภาพที่ไม่พึงประสงค์ บางงานวิจัยแนะนำว่าการยกเว้นกลูเตนจากอาหารอาจจะเป็นประโยชน์กับผู้ที่มีไม่มีโรคประจำตัว เช่น โรคเซลิอิกหรือภูมิแพ้ข้าวสาลี แม้แต่คนที่ถูกระบุว่าแพ้กลูเตนก็ยังไม่ชัดเจนว่าพวกเขาได้รับประโยชน์มากน้อยเพียงใดจากการรับประทานอาหารที่ปราศจากกลูเตน

การลดการบริโภคกลูเตน

ในขณะที่ผู้ที่เป็นโรคเซลิอิกจะต้องยกเว้นอาหารที่มีกลูเตนจากอาหารของพวกเขาอย่างเร็วเมื่อแพทย์ตรวจพบ หลายคนที่แพ้กลูเตนค่อย ๆ ลดการทานอาหารที่มีกลูเตนมากกว่าที่งดอย่างเด็ดขาด  มันอาจจะช่วยได้โดยเริ่มจากการเริ่มเพิ่มอาการที่ไม่มีกลูเตนในหนึ่งมื้ออาหารต่อวันและค่อย ๆ เพิ่มขึ้นไป  อาจไม่เป็นประโยชน์สำหรับทุกคนที่แพ้กลูเตนในการตัดกลูเตนออกจากอาหารโดยสิ้นเชิง เนื่องจากอาการของแต่ละคนจะแตกต่างกันไปตามความรุนแรงบางคนอาจบริโภคกลูเตนในปริมาณเล็กน้อยได้โดยไม่แสดงอาการใดๆ อย่างไรก็ตาม คนส่วนใหญ่ที่แพ้กลูเตนอาจต้องการค่อยๆ กำจัดกลูเตนออกจากอาหาร เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับประโยชน์ของลูกเดือย 
แจ้งให้ทราบ
guest
0 ความคิดเห็น
การตอบรับแบบอินไลน์
ดูความคิดเห็นทั้งหมด