ผลการค้นหา
ผลการค้นหาสำหรับ: โรคอ้วน
อ้วนลงพุง (Metabolic Syndrome) : อาการ สาเหตุ การรักษา
หมอปอด…ปัจจัยเสี่ยงของโรคอ้วนลุงพุง คนที่เป็นโรคอ้วน (Diabesity) ความต้านทานต่ออินซูลินซึ่งทำให้ร่างกายใช้น้ำตาลได้ยาก สาเหตุของโรคอ้วนลุงพุง สาเหตุหลักของภาวะเมแทบอลิกซินโดรม ได้แก่ โรคอ้วน โดยเฉพาะอ้วนลงพุง นำไปสู่ความดันโลหิตสูง น้ำตาลในเลือดสูง ไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูง ไขมันดีในเลือดต่ำ รวมถึงโรคหัวใจและหลอดเลือด ภาวะดื้อต่ออินซูลิน ทั้งจากพันธุกรรมและสาเหตุภายนอก เช่น ความอ้วน อายุที่เพิ่มขึ้น อายุ ประวัติครอบครัวของโรคอ้วน ออกกำลังกายไม่เพียงพอ ผู้หญิงที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรครังไข่ การรักษาโรคอ้วนลงพุง หากคุณได้รับการวินิจฉัยว่ามีภาวะอ้วนลงพุง เป้าหมายของการรักษาคือการลดความเสี่ยงของการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่อสุขภาพ แพทย์ของคุณจะแนะนำการเปลี่ยนแปลงวิถีการดำเนินชีวิตที่อาจรวมถึงการลดน้ำหนักให้ได้ 7-10 เปอร์เซ็นต์ของน้ำหนักปัจจุบันของคุณและการออกกำลังกายในระดับปานกลางถึงรุนแรงอย่างน้อย 30…
อาหารต้านมะเร็ง ( Cancer and Diet )
…มักจะผลิตสารประกอบที่เป็นอันตรายได้มากเมื่อไปสัมผัสกับอุณหภูมิที่สูง เพื่อเป็นการลดความเสี่ยงให้น้อยมากที่สุดจึงควรหลีกเลี่ยงอาหารไหม้เกรียมและเลือกวิธีการประกอบอาหารที่นุ่มนวลกว่า โดยเฉพาะเมื่อทำอาหารเกี่ยวกับเนื้อสัตว์ด้วยวิธีเช่น การนึ่ง การตุ๋นหรือต้ม การหมักอาหารก็สามารถช่วยได้ ผลิตภัณฑ์จากนม จากการศึกษาหลายชิ้นพบว่าการบริโภคผลิตภัณฑ์จากนมในปริมาณมากอาจเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดมะเร็งต่อมลูกหมาก น้ำหนักตัวที่มากเกินไปหรือโรคอ้วนมีส่วนทำให้เพิ่มความเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็ง นอกจากการสูบบุหรี่และการติดเชื้อแล้ว การมีภาวะโรคอ้วนก็คือปัจจัยเสี่ยงที่มีมากที่สุดตัวหนึ่งในการเกิดโรคมะเร็งทั่วโลก โรคอ้วนจะเพิ่มความเสี่ยงให้เกิดโรคมะเร็งชนิดที่แตกต่างกัน 13 ชนิด ซึ่งรวมไปถึงมะเร็งหลอดอาหาร ลำไส้ ตับอ่อนและไต รวมถึงมะเร็งหน้าอกหลังวัยหมดประจำเดือน โรคอ้วนสามารถเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็งได้สามวิธีคือ: ไขมันส่วนเกินของร่างกายมัส่วนทำให้เกิดการต้านอินซูลิน ส่งผลให้เซลล์ไม่สามารถใช้กลูโคสได้อย่างเหมาะสม ซึ่งจะทำให้มีการแบ่งตัวเร็วมากขึ้น คนที่มีภาวะโรคอ้วนมีแนวโน้มจะทำให้การอักเสบไซโตไคน์ในเลือดระดับสูง ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการอักเสบเรื้อรังและไปเสริมให้เซลล์เกิดการแบ่งตัว เซลล์ไขมันมีส่วนทำให้ระดับเอสโตรเจนสูงขึ้น ซึ่งจะเป็นการไปเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งหน้าอกและมะเร็งรังไข่ในผู้หญิงวัยหมดประจำเดือน ข่าวดีก็คือจากการศึกษาพบว่าการลดน้ำหนักในคนที่มีน้ำหนักที่มาเกินไปและคนที่มีภาวะโรคอ้วนจะช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็งได้ อ่านเรื่องราวที่น่าสนใจเกี่ยวกับ: ภาวะโรคอ้วนได้ที่นี่ อาหารต้านโรคมะเร็งบางชนิด…
วิธีเพิ่มน้ำหนัก (How to Gain Weight) – ความเสี่ยง เหตุผล คำแนะนำ
คนผอมที่เป็นอันตรายคืออะไร อาการผอม หรือน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ หมายถึง การมีน้ำหนักน้ยอในแง่ที่ดัชนีมวลกาย (BMI) ต่ำกว่า 18.5 ซึ่งคาดว่าจะน้อยกว่ามวลกายที่จำเป็นต่อการมีสุขภาพที่ดี อย่างไรก็ตาม โปรดทราบว่ามีปัญหามากมายเกี่ยวกับการพิจารณามาตราส่วน BMI เพราะเป็นการคำนวณน้ำหนัก และส่วนสูงเท่านั้น ไม่ได้พิจารณาถึงมวลกล้ามเนื้อ ผู้หญิงผอมหรือคนผอมมีผลเสียอะไรบ้าง โรคอ้วน เป็นหนึ่งในปัญหาสุขภาพที่พบมากที่สุดปัญหาหนึ่งในโลก อย่างไรก็ตาม การมีน้ำหนักน้อยเกินไปนั้นส่งผลเสียต่อสุขภาพของคุณ จากการศึกษาหนึ่งพบว่า การมีน้ำหนักน้อยมีความสัมพันธ์กับความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรที่เพิ่มมากขึ้น 140% ในผู้ชายและ 100% ในผู้หญิง จากการเปรียบเทียบพบว่า โรคอ้วนมีความสัมพันธ์กับความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรมากกว่า 50% ซึ่งบ่งชี้ว่าการมีน้ำหนักน้อยเกินไปส่งผลให้สุขภาพแย่ลง…
การเผาผลาญ (Metabolism)
…นั้นจึงเป็นหนึ่งในเหตุผลว่าทำไมคนเราจึงมีแนวโน้มจะมีน้ำหนักเพิ่มมากขึ้นเมื่อายุมากขึ้น มวลกล้ามเนื้อ: เมื่อมีมวลกล้ามเนื้อมากขึ้นก็จะยิ่งเผาผลาญแคลลอรี่ได้มากขึ้น ขนาดของร่างกาย: ร่างกายที่ใหญ่กว่าก็จะเผาผลาญได้มากกว่า อุณหภูมิของสิ่งแวดล้อม: เมื่อร่างกายสัมผัสกับอากาศที่หนาวเย็น จะมีการเผาผลาญแคลลอรี่ได้มากกว่าเพื่อป้องกันไม่ให้อุณหภูมิของร่างกายลดต่ำเกินไป กิจกรรมทางร่างกาย: การเคลื่อนไหวร่างกายทั้งหมดจำเป็นต้องใช้แคลลอรี่ ยิ่งทำกิจกรรมมากเท่าไนก็ยิ่งมีการเผาผลาญมากเท่านั้น โรคเกี่ยวกับฮอร์โมน: โรคคุชชิงและโรคไฮโปไทรอยด์จะทำให้อัตราการเผาผลาญลดลง และเพิ่มความเสี่ยงให้มีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น โหมดประหยัดพลังงานคืออะไร ระบบเผาผลาญสามารถปรับตัวเองได้ อย่างที่รู้กันว่าเป็นการปรับเพื่อรักษาร่างกายหรือที่เรียกว่า “โหมดประหยัดพลังงาน” ซึ่งอาจมีบทบาทที่สำคัญในการเกิดโรคอ้วน โหมดประหยัดพลังงานคือ การตอบสนองของร่างกายกับการรับประทานอาหารให้น้อยกว่าพลังงานที่ใช้ออกไป เมื่อร่างกายได้รับอาหารไม่เพียงพอ ร่างกายก็จะพยายามชดเชยด้วยการลดอัตราการการเผาผลาญพลังงานในร่างกายและจำนวนการเผาไหม้แคลลอรี่ลง ขอบเขตของอัตราการเผาผลาญที่ลดลงในระหว่างการจำกัดพลังงาน และลดน้ำหนักจะสูงแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล เมื่อการเผาผลาญลดลงคือจะเห็นชัดในบางคน โดยเฉพาะคนที่มีภาวะโรคอ้วน ยิ่งลดลงมากขึ้นก็ยิ่งทำให้มันยิ่งยากในการลดน้ำหนักหรืออดอาหาร เมื่อระบบการเผาผลาญพลังงานมากขึ้นจะช่วยลดน้ำหนักได้หรือไม่ การลดน้ำหนักไม่ใช่เพียงแค่การรับประทานอาหารที่มีแคลลอรี่น้อยเท่านั้น…
คุชชิ่ง ซินโดรม (Cushing’s Syndrome)
…Cushing’s syndrome: ความผิดปกติของระบบเมตาบอลิซึม : การได้รับคอร์ติซอลในระดับสูงเป็นเวลานานสามารถขัดขวางกระบวนการเผาผลาญตามปกติ ซึ่งนำไปสู่สภาวะต่างๆ เช่น: โรคอ้วน : น้ำหนักที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะบริเวณช่องท้อง (“โรคอ้วนลงพุง”) เป็นลักษณะทั่วไปของกลุ่มอาการคุชชิง ความต้านทานต่ออินซูลินและโรคเบาหวาน : คอร์ติซอลอาจทำให้ความไวของอินซูลินและการเผาผลาญกลูโคสลดลง เพิ่มความเสี่ยงต่อการดื้อต่ออินซูลินและโรคเบาหวาน ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ : Cushing’s syndrome มักเกี่ยวข้องกับระดับไขมันที่ผิดปกติ รวมถึงระดับคอเลสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด์ที่เพิ่มขึ้น ซึ่งสามารถเพิ่มความเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดหัวใจได้ ภาวะแทรกซ้อนทางหัวใจและหลอดเลือด : Cushing’s syndrome อาจส่งผลเสียต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด เพิ่มความเสี่ยงต่อ:…
การไม่กินอาหารเช้าไม่ดีสำหรับคุณจริงหรือไม่? (Is Skipping Breakfast really Bad?)
“อาหารเช้าเป็นมื้อที่สำคัญที่สุดของวัน” เราเคยได้ยินคำนี้กันบ่อย อาหารมื้อเช้าถือว่าดีต่อสุขภาพ สำคัญกว่ามื้ออื่นๆ แม้แต่แนวทางโภชนาการที่เป็นทางการในปัจจุบันก็แนะนำให้เรากินอาหารเช้า มีการกล่าวอ้างถึงความสำคัญอาหารเช้าช่วยให้เราลดน้ำหนักได้ และการงดอาหารเช้าสามารถเพิ่มความเสี่ยงต่อโรคอ้วนได้ และดูเหมือนจะเป็นปัญหาเพราะคนมากถึง 25% มักไม่ทานอาหารเช้า อย่างไรก็ตาม การศึกษาคุณภาพสูงใหม่ๆ ได้เริ่มตั้งคำถามถึงคำแนะนำสากลที่ว่าทุกคนควรรับประทานข้าวเช้า บทความนี้จะลงรายละเอียดเกี่ยวกับอาหารเช้า และการงดอาหารเช้าจะส่งผลเสียต่อสุขภาพและทำให้คุณอ้วนหรือไม่ ผู้ที่ทานอาหารเช้ามักจะมีสุขภาพดี เป็นความจริง จากผลการศึกษาหลายชิ้นแสดงให้เห็นว่าผู้ที่ทานอาหารเช้ามีแนวโน้มที่จะมีสุขภาพที่ดีขึ้น ตัวอย่างเช่น พวกเขามีโอกาสน้อยที่จะมีน้ำหนักเกิน/เป็นโรคอ้วน และมีความเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังต่างๆ น้อยลง ด้วยเหตุนี้ ผู้เชี่ยวชาญหลายคนจึงอ้างว่าอาหารเช้านั้นดีสำหรับคุณ อย่างไรก็ตาม การศึกษาเหล่านี้เรียกว่าการศึกษาเชิงสังเกต ซึ่งไม่สามารถแสดงสาเหตุได้ การศึกษาเหล่านี้แสดงให้เห็นว่าคนที่กินอาหารเช้ามีแนวโน้มที่จะมีสุขภาพที่ดีขึ้น แต่พวกเขาไม่สามารถพิสูจน์ได้ว่าอาหารเช้านั้นเป็นต้นเหตุ โอกาสที่ผู้ทานอาหารเช้ามีพฤติกรรมการใช้ชีวิตเพื่อสุขภาพอื่นๆ…