วิธีเพิ่มกล้ามเนื้ออย่างมีประสิทธิภาพ (How to Gain Muscle) – คำแนะนำและพื้นฐาน

ผลการค้นหา

วิธีเพิ่มกล้ามเนื้ออย่างมีประสิทธิภาพ

วิธีเพิ่มกล้ามเนื้ออย่างมีประสิทธิภาพ (How to Gain Muscle) – คำแนะนำและพื้นฐาน

เมื่อพูดถึงการปรับปรุงร่างกาย การสร้างกล้ามเนื้อมักจะมีความสำคัญสูงสุด เพิ่มมวลกล้ามเนื้อจะเพิ่มคำจำกัดความของกล้ามเนื้อ ปรับปรุงมวลกล้ามเนื้อ และเพิ่มมวลกล้ามเนื้อ และขนาดให้เหมาะสม การเติบโตของกล้ามเนื้อต้องใช้เวลา ความเพียรพยายาม และความมุ่งมั่นในระยะยาวต่อกระบวนการการเพิ่มกล้ามเนื้อ แม้ว่าการเพิ่มกล้ามเนื้อจำนวนมากอาจดูน่ากลัว แต่ด้วยโปรแกรมการฝึกที่เหมาะสม และการบริโภคอาหารบางชนิดอย่างเพียงพอ การสร้างกล้ามเนื้ออย่างจริงจังจึงเป็นไปได้สำหรับคนส่วนใหญ่ บทความนี้จะแจกแจงทุกสิ่งที่คุณจำเป็นต้องรู้เกี่ยวกับการสร้างกล้ามเนื้อ รวมถึงวิธีออกกำลังกาย สิ่งที่ควรรับประทาน และแนวทางการเสริมสร้างกล้ามเนื้อ พื้นฐานของการสร้างกล้ามเนื้อ ในทางกายวิภาค กล้ามเนื้อโครงร่างคือ ชุดของเส้นใยทรงกระบอกคู่ขนานที่หดตัวเพื่อสร้างแรง การหดตัวของกล้ามเนื้อนี้ทำให้การเคลื่อนไหวภายนอกของมนุษย์เกิดขึ้นได้ ร่างกายของคุณอยู่ในกระบวนการสร้าง และรีไซเคิลกรดอะมิโน หรือโปรตีนในกล้ามเนื้ออย่างต่อเนื่อง หากร่างกายของคุณกำจัดโปรตีนออกไปมากกว่าที่เพิ่มเข้าไป คุณจะสูญเสียมวลกล้ามเนื้อ หากการสังเคราะห์โปรตีนสุทธิเท่ากัน จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงขนาดกล้ามเนื้อที่วัดได้ สุดท้าย…

คําศัพท์ทางการแพทย์ ภาษาอังกฤษ

คําศัพท์ทางการแพทย์ ภาษาอังกฤษ และคำย่อ

…แปลว่า พลาสเตอร์ปิดแผล Alcohol แปลว่า แอลกอฮอล์ Ambulance แปลว่า รถพยาบาล Ammonia แปลว่า แอมโมเนีย Anesthesia (Anes) แปลว่า แผนกดมยำ Antibiotic แปลว่า ยาปฏิชีวนะ Antiseptic แปลว่า ยาฆ่าเชื้อโรค Aspirin แปลว่า ยาลดไข้ Assistant แปลว่า ผู้ช่วย Backache แปลว่า อาการปวดหลัง…

ยาไดคลอกซาซิลลิน

ยาไดคลอกซาซิลลิน (Dicloxacillin) : วิธีใช้ และข้อควรระวัง

…หายใจมีเสียงหวี๊ด บวมที่ใบหน้า คอ ลิ้น ริมฝีปากหรือตา ปวดข้อหรือกล้ามเนื้อ ปวดท้อง มีรอยช้ำและเลือดที่ผิดปกติ อาการไข้กลับ เจ็บคอ หนาวสั่น หรือสัญญานอื่นๆที่แสดงให้เห็นว่ามีการติดเชื้อ ท้องเสียรุนแรง(ถ่ายเหลวหรือมีเลือดปน)ซึ่งอาจขึ้นร่วมกับมีไข้หรือไม่มีก็ได้ ปวดเกร็งท้อง (อาจเกิดขึ้นมากกว่า 2 เดือนหลังการรักษา) Dicloxacillin อาจเป็นสาเหตุของผลข้างเคียงอื่นๆ โทรแจ้งให้แพทย์ทราบหากมีอาการผิดปกติหลังรับประทานยาดังกล่าว) หากคุณเคยมีอาการผลข้างเคียงที่รุนแรง ทั้งคุณและแพทย์อาจจำเป็นต้องส่งรายงานนี้ไปยัง Food and Drug Administration’s (FDA) MedWatch Adverse Event…

หญ้าหนวดแมว

หญ้าหนวดแมว (Catnip Tea) : ประโยชน์ต่อสุขภาพ

…และเซนต์จอห์นเวิร์ตอาจทำให้เกิดการง่วงนอนมาก ควรหลีกเลี่ยงการดื่มหญ้าแมวก่อนขับรถหรือควบคุมเครื่องจักร ท้องไส้ปั่นป่วนหรืออาเจียน อาจมีอาการื้องไส้ปั่นป่วนหลังจากดื่มหญ้าแมว บางคนดื่มชานี้เพื่อช่วยปัญหาการย่อย แต่บางคนอาจทนไม่ค่อยได้ หยุดดื่มหญ้าแมวหากทำให้เกิดท้องไส้ปั่นป่วนหลายครั้ง ผู้ใหญ่และเด็กอาจอาเจียนหากดื่มหญ้าแมวมากเกินไป อาการแพ้ คุณอาจมีอาการแพ้หญ้าแมวหากคุณมีอาการแพ้พืชจากตระกูลมิ้นท์ อาการป่วยในเด็กและหญิงตั้งครรภ์ หากเด็กดื่มชามากเกินไปอาจทำให้อาเจียน มีรายงานว่าเกิดผลไม่พึงประสงค์จากการดื่มหญ้าแมวระหว่างตั้งครรภ์ ถึงแม้ว่าหญ้าแมวจะถูกว่าว่าใช้รักษาภาวะโคลิคและอาการแพ้ท้อง แต่ทารกและหญิงตั้งครรภ์ควรหลีกเลี่ยงหญ้าแมวจะดีที่สุด ปฏิกิริยากับยา สมุนไพรที่มีฤทธิ์กล่อมประสาทเช่นหญ้าแมวอาจมีปฎิกิริยากับยาบางชนิด ยากันชัก Barbiturates Benzodiazepines ยาต้านเศร้ากลุ่มไตรไซคลิก ยาแก้ไอและยาลดไข้ที่มีตัวยา Diphenhydramine หรือ Doxylamine ยานอนหลับ นี่คือแหล่งที่มาในบทความของเรา https://www.webmd.com/diet/catnip-tea-health-benefits https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC1480656/pdf/canvetj00079-0049.pdf?utm_medium=pt&utm_source=link&utm_campaign=catnip-plant-benefits https://www.medicalnewstoday.com/articles/327387…

ผลของฮอร์โมนเพศชายต่อร่างกาย

ผลของฮอร์โมนเพศชายต่อร่างกาย (Effects of Testosterone)

Testosterone คือ testosterone เป็นฮอร์โมนเพศชายที่สำคัญซึ่งมีหน้าที่ในการพัฒนาและบำรุงรักษาคุณลักษณะของผู้ชาย ผู้หญิงก็มีฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนเช่นกัน แต่ในปริมาณที่น้อยกว่ามาก อ่านเรื่องราวที่น่าสนใจเกี่ยวกับสารสเตียรอยด์ได้ที่นี่ ผลของฮอร์โมนเพศชายต่อร่างกาย ฮอร์โมนเพศชายเป็นฮอร์โมนที่สำคัญ เพศชายเริ่มผลิตฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนภายใน 7 สัปดาห์หลังการปฏิสนธิ ระดับฮอร์โมนเพศชายที่เพิ่มขึ้นในช่วงวัยแรกรุ่น โดยมีระดับสูงสุดในช่วงวัยรุ่นตอนปลาย และระดับฮอร์โมนจะลดลง เมื่ออายุตั้งแต่ 30 ปีขึ้นไป เป็นเรื่องปกติที่ระดับฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนของผู้ชายจะลดลงเล็กน้อยทุกปี เพศชายส่วนมากมีฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนมากเกินพอ แต่บางครั้งร่างกายก็อาจผลิตฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนน้อยเกินไป ส่งผลให้เกิดภาวะ Hypogonadism ที่ทำให้ต้องรับการรักษาด้วยฮอร์โมนบำบัด ซึ่งต้องอยู่ภายใต้การควบคุมของแพทย์ เพื่อติดตามและเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด ผู้ชายที่มีระดับฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนปกติไม่ควรรับการรักษาด้วยฮอร์โมนเทสโทสเตอโรน ระดับฮอร์โมนเพศชายส่งผลต่อทุกอย่างในผู้ชายตั้งแต่ระบบสืบพันธุ์ ลักษณะทางเพศไปจนถึงมวลกล้ามเนื้อ และความหนาแน่นของกระดูก…

การตรวจแปปสเมียร์

การตรวจแปปสเมียร์ (Pap Smear Test) – การเตรียมการ คำแนะนำ

ภาพรวม การตรวจแปปสเมียร์ คือ การตรวจเพื่อคัดกรองมะเร็งปากมดลูก เป็นการตรวจเพื่อหาการปรากฏตัวของระยะก่อนเป็นมะเร็งของเซลล์ปากมดลูก ในระหว่างขั้นตอนการตรวจ เซลล์จากปากมดลูกจะถูกขูดออกไปเล็กน้อย และส่งตรวจเพื่อหาเซลล์ที่เจริญเติบโตผิดปกติ ขั้นตอนการตรวจจะทำโดยแพทย์ในที่ทำงาน การตรวจอาจสร้สงความรู้สุกไม่สาบตัวเล็กน้อย แต่มักไม่ทำให้เกิดอาการเจ็บปวดในระยะยาว คนที่ควรตรวจแปปสเมียร์คือใครบ้าง แนวทางที่แนะนำสำหรับผู้หญิงที่ควรได้รับการตรวจแปปสเมียร์เป็นประจำคือทุกๆสามปีสำหรับผู้หญิงอายุ 21 ปี บางคนที่อาจมีความเสี่ยงในการเป็นโรคมะเร็งหรือติดเชื้อ อาจมีความจำเป็นต้องได้รับการตรวจบ่อยกว่านั้นหาก: เป็นโรค เอชไอวีบวก มีระบบภูมิต้านทานอ่อนแอจากการทำคีโมหรือปลูกถ่ายอวัยวะ หากคุณอายุเกิน 30 ปีและมีผลตรวจแปปสเมียร์ปกติ อาจขอให้แพทย์ตรวจแปปสเมียร์ร่วมกับการตรวจหาเชื้อ HPV เพิ่มเติมทุกๆ 5 ปี HPV คือ…