โรคเนื้อเน่า (Necrotizing Fasciitis) : อาการ สาเหตุ การรักษา

ผลการค้นหา

โรคเนื้อเน่า

โรคเนื้อเน่า (Necrotizing Fasciitis) : อาการ สาเหตุ การรักษา

จักษุแพทย์

…ผู้ป่วยที่ใช้สารสเตียรอยด์รักษา ผู้ที่ผิวหนังมีบาดแผล ผู้ที่ติดสุราหรือผู้ติดยาเสพติด จะวินิจฉัยโรคนี้ได้อย่างไร แพทย์ที่รักษาโรคผิวหนังโดยตรง ใช้วิธีตรวจชิ้นเนื้อบริเวณที่ได้รับเชื้อแบคทีเรีย หรือการตรวจเลือดด้วยวิธีการCTสแกน จะทำให้สามารถวินิจฉัยโรคนี้ได้โดยตรง ผลตรวจเลือดจะทราบผลได้ชัดเจนหากว่าผิวหนังของคุณได้รับเชื้อแบคทีเรียที่ทำให้เป็นโรคเนื้อเน่า วิธีการรักษาผู้เป็นโรคเนื้อเน่า การรักษาผู้เป็นโรคเนื้อเน่า เริ่มต้นด้วยการใช้ยาปฏิชีวนะ ตัวยาปฏิชีวนะจะสมานแผลและรักษาโดยตรงไปยังบริเวณที่ผิวได้รับเชื้อแบคทีเรีย แต่ตัวยาปฏิชีวนะอาจไม่สามารถรักษาผิวหนังบริเวณที่ติดเชื้อได้ทั้งหมด แพทย์อาจใช้วิธีผ่าตัดเนื้อเยื้อหรือตัดชิ้นเนื้อที่ตายแล้วออก ในบางกรณีอาจจำเป็นต้องตัดอวัยวะ แขน หรือ ขา ออก เพื่อหยุดการแพร่กระจายของเชื้อแบคทีเรีย วีธีป้องกันโรคเนื้อเน่า ควรล้างมือบ่อยๆด้วยสบู่และหากผิวได้รับบาดแผล ควรรีบรักษาโดยทันที ควรเปลี่ยนผ้าพันแผล เมื่อเปียกน้ำ และไม่ควรปล่อยให้แผลสกปรก ควรหลีกเลี่ยงอย่าให้บริเวณที่เป็นแผลโดนน้ำ ไม่ควรลงอ่างน้ำ หรือสระว่ายน้ำ…

แผลเปิด

ล้างแผลเปิด (Open Wound) : สิ่งควรรู้ และการล้างแผล

…หรือล้างแผล และสั่งจ่ายยาปฏิชีวนะในกรณีที่เกิดการติดเชื้อแบคทีเรีย ในกรณีที่ร้ายแรงแพทย์อาจผ่าตัดเพื่อเอาเนื้อเยื่อที่ติดเชื้อออก และบางกรณีก็รวมถึงเนื้อเยื่อรอบข้างบาดแผลด้วย ภาวะอื่น ๆ ที่เกิดจากแผลเปิด ได้แก่ : บาดทะยัก : ภาวะนี้เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียที่ทำให้เกิดบาดทะยัก อาจทำให้กล้ามเนื้อบริเวณกราม และคอหดเกร็ง โรคเนื้อเน่า : โรคเนื้อเน่าคือการติดเชื้อบริเวณเนื้อเยื่ออ่อนอย่างรุนแรง เกิดจากแบคทีเรียหลายชนิด ทั้ง Clostridium และ Streptococcus ซึ่งอาจทำให้เนื้อเยื่อเสียหาย และเกิดภาวะติดเชื้อได้ เซลล์เนื้อเยื่ออักเสบ : โรคเซลล์เนื้อเยื่ออักเสบคือการติดเชื้อที่ผิวหนังของผู้บาดเจ็บ ซึ่งเชื้ออาจไม่ได้สัมผัสกับบาดแผลโดยตรง ข้อควรปฎิบัติเมื่อมีแผลเปิด เมื่อคุณมีแผลเปิด…

สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับถุงน้ำดีอักเสบ

สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับถุงน้ำดีอักเสบ (Cholecystitis) – สาเหตุ อาการ การรักษา

ถุงน้ำดีอักเสบ คือ ถุงน้ำดีอักเสบ หรือ cholecystitis คือการอักเสบของถุงน้ำดี เกิดขึ้นเมื่อมีนิ่วไปติดบริเวณช่องเปิดของถุงน้ำดี ทำให้เป็นไข้ ปวด คลื่นไส้ และภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง หากไม่ได้รับการรักษา อาจทำให้ถุงน้ำดีแตก เกิดเนื้อเยื่อตาย และเนื้อเน่า ถุงน้ำดีเกิดพังผืด หรือเกิดการหดตัว หรือภาวะติดเชื้อแบคทีเรียทุติยภูมิ โรคนิ่วส่งผลต่อการเกิดถุงน้ำดีอักเสบถึง 95 %ซึ่งอาจเกิดจากคอเลสเตอรอล เม็ดสีที่เรียกว่าบิลิรูบิน หรือทั้ง 2 อย่างร่วมกัน เพราะสามารถกระตุ้นให้เกิดตะกอนน้ำดี เมื่อมีน้ำดีเข้าไปสะสมในท่อน้ำดีอีกด้วย สาเหตุอื่น ๆ ได้แก่…

โรคเบอร์เกอร์ (Buerger’s Disease) : อาการ สาเหตุ การรักษา

…โรคดังกล่าวยังไม่มีวัคซีน การปรับพฤติกรรมการใช้ชีวิตสามารถป้องกันบุคคลไม่ให้เกิดโรคเบอร์เกอร์ได้ แม้ว่าการเลิกสูบบุหรี่จะสามารถป้องกันการลุกลามของโรค ภาวะแทรกซ้อนของโรคเบอร์เกอร์ โรคเบอร์เกอร์ หรือที่รู้จักกันในชื่อ thromboangiitis obliterans เป็นภาวะการอักเสบที่พบไม่บ่อย ซึ่งส่งผลกระทบหลักต่อหลอดเลือดบริเวณแขนขา โดยเฉพาะที่มือและเท้า มีลักษณะเฉพาะคือการก่อตัวของลิ่มเลือด (thrombi) ในหลอดเลือดแดงและหลอดเลือดดำขนาดเล็กและขนาดกลาง ซึ่งอาจส่งผลให้การไหลเวียนของเลือดลดลงและความเสียหายของเนื้อเยื่อ ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นจากโรคโรคเบอร์เกอร์ ได้แก่: เนื้อตายเน่า:การไหลเวียนของเลือดที่ลดลงที่เกิดจากลิ่มเลือดอาจส่งผลให้เนื้อเยื่อเสียหายและเสียชีวิตได้ นำไปสู่เนื้อเน่า เนื้อตายเน่าสามารถเกิดขึ้นได้เฉพาะที่และส่งผลให้สูญเสียนิ้วหรือนิ้วเท้า หรืออาจขยายวงกว้างมากขึ้นและเกี่ยวข้องกับเนื้อเยื่อบริเวณที่ใหญ่ขึ้น แผล: เนื่องจากการไหลเวียนของเลือดลดลงและความเสียหายของเนื้อเยื่อ แผลสามารถเกิดขึ้นได้ โดยเฉพาะที่นิ้วมือและนิ้วเท้า แผลเหล่านี้อาจเจ็บปวดและอาจหายช้า การติดเชื้อ:แผลเปิดและแผลเปื่อยมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ ซึ่งอาจทำให้อาการซับซ้อนยิ่งขึ้นและต้องได้รับการแทรกแซงทางการแพทย์ การตัดแขนขา:ในกรณีที่รุนแรง เมื่อเนื้อตายเน่าหรือเนื้อเยื่อเสียหายอย่างรุนแรงและการไหลเวียนของเลือดไม่สามารถฟื้นฟูได้…

แผลติดเชื้อ

แผลติดเชื้อ (Wound Infection) อาการ สาเหตุ การรักษา

โดยปกติบาดแผลติดเชื้อ (Wound Infection) คือการที่เนื้อเยื่อรอบๆบาดแผลได้รับความเสียหายซึ่งบาดแผลสามารถเกิดขึ้นได้ทุกส่วนของร่างกาย เมื่อเชื้อโรคเข้าสู่เนื้อเยื่อใต้ผิวหนังของเราได้ผ่านบาดแผลบริเวณที่เกิดแผลสามารถเกิดการติดเชื้อได้ โดยการติดเชื้อใช้ระยะเวลาเกิดขึ้นในช่วง 2-3 วัน หลังจากมีบาดแผลเกิดขึ้นหรือจนกว่าสามารถรักษาบาดแผลให้หายอย่างสมบูรณ์ อ่านบทความนี้เพื่อเรียนรู้วิธีบ่งบอกลักษณะแผลติดเชื้อและวิธีรักษารวมถึงการป้องกันไม่ให้เกิดบาดแผลติดเชื้อ อาการของบาดแผลติดเชื้อ ลักษณะของแผลธรรมดาที่ไม่ติดเชื้อมักหายไปได้เอง ในขณะที่แผลติดเชื้อมักทำให้เกิดอาการเจ็บปวดและรักษาไม่หาย ลักษณะของผิวหนังติดเชื้อคือโดยปกติผิวหนังรอบๆของแผลจะมีลักษณะบวมเเดงและมีอุณหภูมิร้อนขึ้นโดยคุณสามารถสังเกตุได้ว่าบริเวณที่เกิดการติดเชื้อมีอาการบวมขึ้นและเมื่อมีการอักเสบเพิ่มมากขึ้นผิวหนังบริเวณที่ติดเชื้อจะมีของเหลวไหลออกมาเรียกว่าน้ำหนอง คุณควรไปพบเเพทย์หากมีลักษณะอาการของแผลติดเชื้อเกิดขึ้นดังต่อไปนี้ มีอาการบวมแดงเกิดขึ้นที่แผลเเละแพร่กระจายไปยังบริเวณรอบๆที่เกิดการอักเสบ เมื่อคุณมีอาการเจ็บปวดหรือมีไข้ เมื่อคุณรู้สึกเหมือนเป็นไข้ อาการดังต่อไปนี้เป็นสัญญาณบ่งบอกว่าการติดเชื้อได้เกิดการเเพร่กระจายเเล้ว วิธีรักษาแผลติดเชื้อที่บ้าน ถ้าหากคุณเริ่มสังเกตุเห็นว่าบาดแผลเริ่มมีอาการบวมแดงเกิดขึ้น คุณสามารถรักษาแผลบวมแดงได้เองที่บ้าน ควรมั่นใจว่าคุณได้ล้างบาดแผลของคุณด้วยสบู่และน้ำสะอาดเพื่อกำจัดสิ่งสกปรกออกให้หมด สบู่ฆ่าเชื้อโรคที่นำมาใช้ควรมีส่วนผสมของสารไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ สามารถใช้ล้างบาดแผลได้หลายครั้ง หลังจากที่ล้างบาดแผลให้สะอาดแล้ว ควรปล่อยให้แผลแห้งเเละใช้ยาทาแผลติดเชื้อซึ่งเป็นยาปฏิชีวนะเช่นยา Neosporin ที่ใช้สำหรับทาแผลสดและใช้ผ้าพันบาดแผลจนกว่าผิวหนังใหม่จะเกิดขึ้นคลุมบาดแผล ถ้าหากยังคงทีแผลบวมแดงยังคงเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องหรือเป็นแผลมีหนองควรไปพบเเพทย์เพื่อทำการรักษาโดยเร็วที่สุด…

ฝี

ฝี (Skin Abscess) : สาเหตุ อาการ การวินิจฉัย การรักษา

…มีดังนี้ เด็ก ผู้ที่มีอายุเกิน 65 ปีขึ้นไป ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันอ่อนแอหรือผู้ที่เพิ่งได้รับการรักษาจากโรงพยาบาล ผู้ที่เคยผ่านการปลูกถ่ายอวัยวะ ผู้ป่วยที่ทำเคมีบำบัด ผู้ที่มีฝีบริเวณใบหน้าหรือบริเวณกระดูกสันหลัง หากปล่อยทิ้งไว้โดยไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที เชื้อแบคทีเรียอาจกระจายขึ้นสู่สมองและบริเวณไขสันหลัง แพทย์จะวินิจฉัยและตรวจสอบประวัติและลักษณะของฝี เพื่อรักษาอาการของฝีอย่างละเอียด หากผู้ป่วยยังคงมีอาการปวดฝีอาจจะใช้วิธีการตรวจเลือดหรือปัสสาวะ เพื่อวินิจฉัยฝีในการรักษาต่อไป ภาวะแทรกซ้อนของฝี การแพร่กระจายของเชื้ออาจเกิดขึ้นที่สมองหรือบริเวณไขสันหลัง การติดเชื้อในเลือด การเกิดเยื่อบุหัวใจอักเสบ มีรากฝีใหม่ เนื้อเยื้อตาย หรือกลายเป็นเนื้อเน่า เกิดการติดเชื้อเข้ากระดูกแบบเฉียบพลัน อ่านเพิ่มเติม : หูด (Warts) คืออะไร : สาเหตุประเภทการรักษา…