น้ำยาล้างตา (Eyewash Solutions)

ผลการค้นหา

น้ำยาล้างตา

น้ำยาล้างตา (Eyewash Solutions)

…โดยมีส่วนผสมอื่นๆ เพิ่มเติมได้ในปริมาณเล็กน้อยเช่น เกลือ และกรดบอริกในปริมาณเล็กน้อย เป็นต้น กรดบอริกเป็นสารเคมีที่สามารถกำจัดกับแบคทีเรียแ ละเชื้อโรคอื่นๆ ในบางรูปแบบ อาจทำให้ดวงตเสียหาย และระคายเคืองต่อผิวหนังได้ แต่ระดับของกรดบอริกในน้ำยาล้างตานั้นต่ำมาก เพราะฉนั้นถ้าใช้น้ำยาล้างตาในปริมาณที่กำหนดจะปลอดภัย ยาหยอดตากับน้ำยาล้างตา ยาหยอดตากับน้ำยาล้างตาชื่ออาจจะคล้ายกัน แต่มีข้อแตกต่างที่สำคัญบางประการ ยาหยอดตามคือ หยดน้ำหล่อลื่น หรือที่เรียกว่าน้ำตาเทียมช่วยบรรเทาอาการตาแห้ง ยาหยอดอื่นๆ อาจบรรเทาอาการปวด รักษาการติดเชื้อด้วยยาปฏิชีวนะ บรรเทาอาการแดง หรือรักษาอาการต่างๆ เช่น ต้อหิน น้ำยาล้างตามีไว้เพื่อขจัดอนุภาค สารเคมี หรือสารอื่นๆ ออกจากดวงตา เพื่อลดความระคายเคือง…

ไซโคลเบนซาพรีน

ไซโคลเบนซาพรีน (Cyclobenzaprine) 

…ทุกชนิดที่ใช้อยู่ หรือยาสำหรับภาวะซึมเศร้า ยารักษาอาการทางจิต ยาสำหรับโรคพาร์กินสัน ยาไมเกรน แม้กระทั่งผลิตภัณฑ์สมุนไพร แจ้งให้แพทย์ทราบหากผู้ป่วยมีอาการดังนี้: โรคต่อมไทรอยด์ โรคตับ ต้อหิน ต่อมลูกหมากโต ปัญหาเกี่ยวกับการถ่ายปัสสาวะ กรณีที่ลืมทานยา ให้ทานยาทันทีเมื่อนึกได้ แต่หากใกล้ถึงเวลาในการรับประทานยามื้อถัดไป ให้ข้ามมื้อที่ลืม และทานยาตามปกติโดยไม่ต้องเพิ่มปริมาณยา ผลข้างเคียงของไซโคลเบนซาพรีน โทรเรียกรถพยาบาลทันทีหากมีอาการแพ้ยาไซโคลเบนซาพรีน โดยอาการแพ้เหล่านี้คือ ลมพิษ หายใจลำบาก ใบหน้า ริมฝีปาก ลิ้น หรือคอบวม หัวใจเต้นเร็วหรือผิดปกติ เจ็บหน้าอกหรือกดทับ ปวดร้าวไปที่กรามหรือไหล่ อาการชาหรืออ่อนแรงอย่างกะทันหัน…

สาเหตุของการปวดหัวข้างซ้าย

สาเหตุของการปวดหัวข้างซ้าย (What Causes Headaches on The Left Side)

…อาการคือการปวดหัวและการปวดกราม ไหล่ และสะโพก และการมองเห็นที่เปลี่ยนไป โรคปวดเส้นประสาทใบหน้า: เป็นโรคที่เกิดขึ้นกับเส้นประสาทใบหน้า ทำให้เกิดความเจ็บปวดรุนแรงที่เหมือนช็อคที่ใบหน้า สาเหตุอื่น ๆ การปวดหัวข้างซ้ายอาจเป็นผลมาจาก การใส่หมวกหรืออะไรบนหัวที่แน่น: การสวมหมวกกันน็อคหรือหมวกป้องกันอื่น ๆ ที่แน่นเกินไปอาจทำให้เกิดความดันที่หัวข้างใดข้างหนึ่งหรือหัวทั้งสองข้าง และทำให้เกิดความเจ็บปวด การถูกกระทบอย่างรุนแรง: การถูกกระแทกอย่างรุนแรงสามารถทำให้เกิดอาการบาดเจ็บที่สมองได้ การถูกระทบอย่างรุนแรงทำให้เกิดการปวดหัว สับสน คลื่นไส้ และอาเจียนได้ โรคต้อหิน: ความดันในตาที่เพิ่มขึ้นสามารถทำให้ตาบอดได้ ซึ่งเกิดขึ้นกับอาการปวดตาและการมองเห็นที่ไม่ชัด และสามารถมีอาการปวดหัวที่รุนแรงร่วมด้วยได้ ความดันโลหิตสูง: ปกติแล้ว ความดันโลหิตสูงจะไม่ก่อให้เกิดอาการใด ๆ แต่ในผู้ป่วยบางคน…

Methylprednisolone

Methylprednisolone

…อาการผิวหนังเรื้อรัง ได้แก่ โรคผิวหนังอักเสบ เพมฟิกัส โรคสะเก็ดเงินรุนแรง โรคผิวหนังรุนแรง ผื่นแพ้ยาเป็นอย่างไรอ่านต่อได้ที่นี่ เมทิลเพรดนิโซโลนใช้สำหรับรักษาอาการช็อก และโรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง แม้ว่าการใช้งานในสภาวะเหล่านี้จะยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ ผลข้างเคียงของเมทิลเพรดนิโซโลน ผลข้างเคียงของเมทิลเพรดนิโซโลนขึ้นอยู่กับขนาดยา ระยะเวลา และความถี่ในการให้ยา การใช้เมทิลเพรดนิโซโลนในระยะสั้นมักจะมีผลข้างเคียงเล็กน้อยและไม่รุนแรง แต่ในระยะยาวเมทิลเพรดนิโซโลนในปริมาณสูงอาจก่อให้เกิดผลข้างเคียงที่ร้ายแรงบางประการ ดังนั้นแพทย์จะพิจารณาใหผู้ป่วยใช้เมทิลเพรดนิโซโลนในระยะเวลาที่นั้นที่สุด อาหารที่ทำให้โรคสะเก็ดเงินกำเริบคืออะไร อ่านต่อที่นี่ ผลข้างเคียงที่พบได้ทั่วไป บวมน้ำ น้ำหนักเพิ่มขึ้น ความดันโลหิตสูง การสูญเสียโพแทสเซียม ปวดศีรษะ กล้ามเนื้ออ่อนแรง อาการบวมของใบหน้า ขนเพิ่มบนใบหน้า ผิวช้ำง่าย ต้อหิน

ต้อกระจก

ต้อกระจก (Cataract) : อาการ สาเหตุ การรักษา

แพทย์ผิวหนัง

…ต้อกระจกทุติยภูมิ (Secondary cataracts) : เกิดจากโรคหรือยา โรคที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาของต้อกระจก ได้แก่ ต้อหิน เบาหวาน และการใช้สเตียรอยด์ ต้อกระจกที่เกิดจากอุบัติเหตุ (traumatic cataract) : ต้อกระจกที่เกิดขึ้นจากการเกิดอุบัติภัยที่ตา หรือเกิดจากการได้รับการกระแทกบริเวณดวงตา มีสิ่งแปลกปลอมเข้าในลูกตา ต้อกระจกเหตุรังสี (Radiation Cataract) : เกิดขึ้นได้หลังจากผู้ป่วยได้รับรังสีวิทยาในการรักษาโรคมะเร็ง การวินิจฉัยต้อกระจก แพทย์ของจะทำการตรวจตาที่มีอาการของต้อกระจกและวัดค่าสายตา ซึ่งการทดสอบจะรวมถึงการทดสอบด้วยแผ่นทดสอบวัดระดับสายตา เพื่อตรวจสอบการมองเห็นในระยะทางที่แตกต่างกันและทำวัดความดันตาภายในลูกตา (tonometry) การทดสอบ tonometry โดยส่วนใหญ่จะใช้พัฟอากาศเพื่อทำให้กระจกตาของผู้ป่วยเรียบลงจากนั้นจะทำการทดสอบความดันตา…

คลอโปรมาซีน

คลอโปรมาซีน (Chlorpromazine)

…แผลพุพอง หรือปัญหาทางเดินปัสสาวะ ยาสำหรับอาการชักเช่น phenytoin (Dilantin); ยาเสพติดสำหรับอาการปวด; โพรพาโนลอล (Inderal); ยานอนหลับ และยากล่อมประสาท เพื่อให้แพทย์พิจารณาขนาดยา หรือตรวจสอบผลข้างเคียงอย่างระมัดระวัง แจ้งให้แพทย์ทราบ หากผู้ป่วยมีหรือเคยเป็นโรคหอบหืด ถุงลมโป่งพอง (โรคปอดที่ทำให้หายใจถี่); การติดเชื้อในปอดหรือหลอดลม (ท่อนำอากาศไปยังปอด); ปัญหาในการรักษาสมดุลของร่างกาย โรคต้อหิน; โรคมะเร็งเต้านม; pheochromocytoma (เนื้องอกในต่อมหมวกไต); อาการชัก; คลื่นไฟฟ้าสมองผิดปกติ (EEG); เงื่อนที่ส่งผลต่อการผลิตเซลล์เม็ดเลือดโดยไขกระดูก หรือโรคหัวใจ ตับ หรือไต…